000
ปรึกษาเครื่องเสียง อจ. ไมตรี โทร 099-569-6459    
 
บอร์ดพูดคุย, ซื้อ-ขายเครื่องเสียง
>> audio-teams.com
>> noom-hifi.com
>> wijitboonchoo.com
>> hifi55.com  
>> sk-audiophile.com
>> htg2.net
นิตยสารเครื่องเสียง
>> what Hi-Fi? Thailand
>> The Wave
>> Audiophile-Videophile
>> gm2000.com
>> The Stereo
ร้านค้าเครื่องเสียง
>> Piyanas Electric
>> KS Sons Group
>> Conice (บ้านทวาทศิน)
>> อัศวโสภณ
>> munkonggadget.com
>> bkkaudio.com
 
ปรับขนาดตัวหนังสือ เช่น 15, 16, 18, 20, + + / ยกเลิกใส่ 0 :
หมวดหมู่ > ระบบเสียง PA
  • หรือจะหมดยุคเสียงขยาย...ฟังสดดีกว่า
    เมื่อเร็วๆ นี้ได้คุยกับเพื่อนจึงทราบว่าปัจจุบันวงดนตรีลูกทุ่งขนาดใหญ่ มีอันต้องล้มหายตายจากไปหมดแล้ว วงดังๆ ที่มีชื่อมานมนานนั้น ไม่มีอีกแล้ว นักร้องดังๆ เจ้าของวงก็ต้องผันตัวเองไปเป็นนักร้องรับเชิญตามรายการทีวีต่างๆ หรือตามงานโชว์ (ตลก)
  • เสียงไฮเอนด์ จำเป็นต่อระบบเสียงสาธารณะไหม
    บางคนคิดว่า ระบบเสียงสาธารณะ (PA) ไม่จำเป็นต้องพิถีพิถันอะไร เอาแค่มีเสียงก็พอ ไม่มีใครมานั่งฟังจับผิดกันหรอก ไม่ต้องระดับหูทอง หรือ audiophile อะไร ใครจะมาใส่ใจ ส่วนมหญ่ก็แค่ฟังประเดี๋ยวประด๋าวไม่กี่นาที ไม่ได้มานั่งฟังกันอย่างเอาเป็นเอาตายอย่างฟังเพลงที่บ้าน
  • กะเทาะเปลือก ลำโพง Line Array น่าเล่นจริงหรือ
    จะเห็นว่า ในระบบเสียงคอนเสิร์ต ไม่ว่าในร่ม หรือกลางแจ้ง มักนำลำโพงหลายๆ ตู้ที่เหมือนๆ กันมาวางเรียงซ้อนกันในแนวดิ่ง เรียกว่า การจัดลำโพงแบบแผงตั้ง (Line Array) ข้อดีของลำโพงแผงตั้ง หรือ Line Array, .... เพิ่มพลังเสียงให้ดังมากขึ้น
  • มิติเสียง... จำเป็นหรือไม่ในระบบงานเสียงคอนเสิร์ต
    เมื่อ 70-80 ปีมาแล้ว ระบบเสียงที่เราฟังๆ กัน ทั้งในบ้านและตามงานแสดงจะเป็นระบบโมโนเท่านั้น ยังไม่มีการนำเสนอในระบบแยกทิศทางซ้าย-ขวา หรือสเตอรีโอ พวกเราหรือวงการก็พอใจกันอยู่แค่นั้น จนเมื่อมีใครสักคนตระหนักว่า เวลาเราไปฟังการแสดงสดๆ มันให้อารมณ์
  • สเปกเครื่องเสียง PA ทำไมต้องแย่กว่าเครื่องเสียงบ้าน
    ปกติช่างติดตั้งเครื่องเสียงงานคอนเสิร์ต งานห้องแสดงดนตรี มักเน้นที่ฟังก์ชันการใช้งานที่คล่องตัว ตรงกับจุดประสงค์ของงาน มากกว่าจะลงลึกถึงสเปกของมัน อย่างเก่งก็ดูแค่กำลังสำรองของพาวเวอร์แอมป์ การทนกำลังขับได้ของลำโพง...แค่นั้น
  • เทคนิคเพิ่มความดังด้วย compression ขั้นเทพ
    ในการบันทึกเสียง เป็นที่รู้กันว่า ถ้าต้องการให้เสียงกระทุ้งหู (impact) จะต้องบันทึกให้แรงๆ เข้าไว้ ถ้าบันทึกที่ระดับสัญญาณต่ำ เสียงจะออกผอมบาง ขาดน้ำหนัก แรงปะทะ ไม่เร้าใจ จืดชืด แต่การบันทึกที่สัญญาณแรงๆ ก็มีข้อจำกัดพอสมควร
  • เราต้องการบันทึกเพลงแบบเซอร์ราวด์จริงหรือ
    เทคโนโลยีการบันทึกเสียงในปัจจุบัน ทำให้เราสามารถบันทึกเสียง 2 แชนแนล (สเตอรีโอ) ให้ปรากฏดุจฟังจากระบบเสียงรอบทิศได้ เมื่อฟังจากระบบเสียงสเตอรีโอ 2 แชนแนลธรรมดาที่บ้าน (ไม่ว่าจะเป็นระบบ spatializer, SRS, Q-sound ฯลฯ) หรือการบันทึกเสียงรอบทิศเซอราวด์จริงๆ
  • การติดตั้งไมโครโฟนอย่างเซียน
    เลือกไมค์ให้เหมาะกับงานที่สุด (ถ้าทำได้ เช่น ไมค์สำหรับเสียงร้อง, สำหรับกลองเบส, สำหรับดับเบิลเบส ฯลฯ) หรืออย่างน้อยไม่ผิดงาน เช่น เอาไมค์สำหรับเสียงกลองเบสเป็นไมค์ร้อง (หรือกลับกันก็ไม่ดี)
  • Multi-track VS. Two-track
    การบันทึกแต่ต้นเมื่อกว่า 50 ปีที่แล้ว จะเป็นแบบ ?บันทึกสดๆ (real-time)? โดยทั้ง นักร้อง, นักดนตรีทั้งวง จะร้อง, เล่น ไปพร้อมๆ กันดุจการแสดงสดบนเวที มีไมโครโฟน 1 ตัว (ยุคบันทึกเสียงแบบโมโน), 2 ตัว (ยุคถัดมาที่บันทึกสเตอริโอ 2-ch)

www.maitreeav.com

www.maitreeav.com
สำนักงาน : 313/129 ซ. เคหะร่มเกล้า 64 แขวงคลองสองต้นนุ่น เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520
โทร. 081-5500269 , 099-569-6459